Author: admin

อิมามซัจญาด (อ)

ท่านอิมามอาลี บินฮุเซน อิหม่ามคนที่สี่ของชาวชีอะฮ์ มีฉายานามว่า ซัจญาด และซัยนุลอาบิดีน เกิดในวันที่ห้าของเดือนเชาวาลในปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 37 ในเมืองมะดีนะฮ์ ตามแหล่งที่มาของประวัติศาสตร์อิสลาม บันทึกไว้ว่า บิดาผู้เป็นที่รักของท่านคือ อิหม่ามฮุเซน ขอความสันติจงมีแด่ท่าน และมารดาผู้สูงศักดิ์ของท่านคือท่านหญิง สะลามะฮ์ หรือเป็นที่รู้จักกันในนามวา Ghazaleh อิหม่ามสัจจาด (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่เลวร้ายที่สุดระหว่างการเป็นผู้นำของ

Read More...

คมดาบและหัวใจ

คมดาบและหัวใจ “หัวใจของพวกเขาอยู่กับท่านก็จริง แต่คมดาบของพวกเขากำลังมุ่งประหารท่าน” ประโยคหนึ่งที่เป็นประโยคที่แสนจะขมขื่นที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์คือประโยคที่ว่า “หัวใจของพวกเขาอยู่กับท่านก็จริง แต่คมดาบของพวกเขากำลังมุ่งประหารท่าน”   เรื่องราวเกี่ยวกับประโยคข้างต้นนี้ได้ถูกบันทึกไว้ในหนังสือ “เมาซูอะฮ์ กะลีมาต อิมามฮุเซน (อ) ” โดยกล่าวไว้ว่า – เมื่อครั้งที่ท่านอิมามฮุเซน (อ) ได้เดินทางออกจากเมืองมะดีนะฮ์ท่านได้พบกับนักกวีหนุ่มคนหนึ่งชื่อ ฟะรอซดัก ท่านอิมามถามถึงสถานการณ์ในเมืองกูฟะฮ์ ฟะรอซดัก กล่าวตอบว่า –

Read More...

แบบฉบับความละอายจากบุตรีนบีชุอัยบ์

แบบฉบับความละอายจากบุตรสาวแห่งท่านศาสดาชุอัยบ์(อ)  เมื่อท่านศาสดาชุอัยบฺ(อ)พบว่าท่านศาสดามูซา(อ)เป็นชายหนุ่มผู้มีเกียรติมีคุณธรรมและรักนวลสงวนตัวจึงว่าจ้างเขาเพื่องานในไร่นาอีกทั้งยังจัดการสมรสให้ท่านศาสดามูซา(อ)กับบุตรสาวของตน,ให้สถานที่พักพิงใกล้บริเวณงานแก่ท่านอีกด้วย قَالَ إِنِّي أُرِيدُ أَنْ أُنكِحَكَ إِحْدَى ابْنَتَيَّ هَاتَيْنِ عَلَى أَن تَأْجُرَنِي ثَمَانِيَ حِجَجٍ  فَإِنْ أَتْمَمْتَ عَشْرًا فَمِنْ عِندِكَ وَمَا أُرِيدُ

Read More...

“วะฮ์ยู” ตอนที่ 1

“วะฮ์ยู”1 ตามความเชื่อของนักวิชาการและนักค้นคว้าด้านอัล กุรอานเชื่อว่า อัลกุรอานมีความสัมพันธ์โดยตรงกับคำว่า วะฮ์ยู  และทุกคนยังมีความเชื่ออีกว่าการพิจารณาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวะฮ์ยู เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคว้าเกี่ยวกับอัล กุรอาน ดังนั้นในฉบับนี้จะขอทำความเข้าใจกับท่านผู้อ่านในเรื่องวะฮ์ยู เพื่อเป็นก้าวแรกไปสู่การทำความเข้าใจอัล กุรอาน (more…)

Read More...

อิมามโคมัยนีกับปรัชญาแห่งฮัจญ์

واعتصموابحبل اللةجميعاولاتفرقوا “จงยึดสายเชือกของอัลลอฮ์อย่างพร้อมเพรียงกัน และจงอย่าแตกแยกกัน” (ซูเราะฮ์ อาลิอิมรอน โองการที่ 103) (more…)

Read More...

วิถี “ฮุเซน” (อ)

วิถีฮุเซน (อ.)  ผู้นำมวลมนุษยชาติท่านที่ 3 ตามแนวทางของชีอะฮ์อิมามียะฮ์ คือ อิมามฮุเซน (อ.)  ท่านประสูติในวันที่ 3 เดือนชะอ์บาน ปี ฮ.ศ. ที่ 4 ในเมืองมะดีนะฮ์ ท่านเป็นบุตรคนที่สองของอิมามอะลี (อ.) กับท่านหญิงฟาติมะฮ์ (อ.)

Read More...

เดือนมุฮัรร็อม

เดือนมุฮัรรอม เดือนมุฮัรรอมเป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าของอะฮ์ลุลบัยต์และผู้ที่ปฏิบัติตามอะฮ์ลุลบัยต์ อิมามริฎอ (อ.) กล่าวว่า :  “เมื่อเดือนมุฮัรรอมมาเยือน ไม่มีใครเห็นบิดาของฉันยิ้มเลย ท่านจะโศกเศร้าจนกระทั่งถึงวันที่ 10 ของเดือนมุฮัรรอม และวันที่ 10 นี้เองเป็นวันแห่งความโศกเศร้าและร้องให้ของท่าน และท่านกล่าวว่า วันนี้แหละคือวันที่พวกเขาได้ฆ่าฮุเซน (อ.)” มุฮัรรอม ในมุมมองของชีอะฮ์

Read More...

วัฒนธรรมกุรอาน วัฒนธรรมแห่งยุคสมัย

هُوَ الَّذِي أَرْسَلَ رَسُولَهُ بِالْهُدَى وَدِينِ الْحَقِّ لِيُظْهِرَهُ عَلَى الدِّينِ كُلِّهِ وَلَوْ كَرِهَ الْمُشْرِكُونَ “พระองค์คือผู้ทรงส่งรอซูลของพระองค์ด้วยการชี้นำทาง และศาสนาแห่งสัจธรรมเพื่อพระองค์จะทรงให้ศาสนาอิสลามอยู่เหนือศาสนาทั้งมวล ถึงแม้พวกตั้งภาคีจะเกลียดชังก็ตาม” (ซูเราะฮ์อัศศ๊อฟ โองการที่ 9)

Read More...

ชีวประวัติท่านอิมามอาลี ตอนที่ 1 ศึกนอกและศึกใน

เมื่อพิจารณาถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอิสลามโดยรวม ถ้าหากท่านอิมามอาลี (อ) ทำการต่อสู้เพื่อแย่งชิงตำแหน่งผู้นำ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงตัดสินใจไม่ลุกขึ้นต่อสู้ ซึ่งหากพิจารณาถึงอันตรายทั้งภายในและภายนอกที่เป็นเหตุให้อะลี (อ.) ไม่คิดที่จะต่อสู้ด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ ได้ดังต่อไปนี้ 1 ถ้าหากอิมาม(อ.) ได้ใช้อำนาจและต่อสู้โดยใช้อาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อยึดการปกครองคืนมาท่านก็จะสูญเสียบรรดาบุคคลที่เป็นที่รักที่เชื่อในความเป็นผู้นำของท่านอย่าจริงใจ นอกเหนือจากนี้แล้วหลายกลุ่มด้วยกันที่เป็นสาวกของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ซึ่งไม่พอใจกับการปกครองของท่านอิมาม(อ.) ก็จะถูกสังหาร ซึ่งกลุ่มนี้นั้นถึงแม้พวกเขาจะมีจุดยืนที่ตรงข้ามกับท่านอิมาม(อ.)ในประเด็นเกี่ยวกับผู้นำและมีความแค้นเคืองต่อท่านและพวกเขาไม่พอใจที่จะให้อิมามอะลี (อ.) ทำการปกครองแต่พวกเขาก็ไม่มีความขัดแย้งกับท่านในเรื่องอื่น อย่างไรก็แล้วแต่การถูกสังหารของบุคคลกลุ่มนี้นั้นจะทำให้อำนาจในการเผชิญหน้ากับผู้ตั้งภาคี ผู้กราบไหว้เจว็ด

Read More...

ความละอายในมุมมองของอัลกุรอาน

ความละอายคือความรู้สึกผิดหรือความละอายใจที่เกิดจากการสำนึกผิดจากการมีพฤติกรรมที่ไร้เกียรติและน่ารังเกียจ (more…)

Read More...

Mobile Sliding Menu