Category: อัลกุรอาน

วะฮ์ยู ตอนที่ 2 

ในตอนที่แล้วเราได้กล่าวถึงเรื่องของความหมายของ วะฮ์ยู พร้อมกับกล่าวถึงรูปแบบการประทานวะฮ์ยูให้กับท่านผู้อ่านไปแล้วในฉบับนี้เราจะขอกล่าวถึง ข้อสงสัยที่มีการถกเถียงกันเกี่ยวกับเรื่องวะฮ์ยู ข้อสงสัยดังกล่าวนั้นส่วนมากจะเป็นคำถามของนักบูรพาคดีที่ตั้งคำถามเกี่ยวกับเรื่องนี้ (more…)

Read More...

คู่สนทนาของอัลกุรอาน (กุรอาน พูดกับใคร)

คู่สนทนาของอัลกุรอาน จำเป็นต้องกล่าวถึงเรื่อง “คู่สนทนาของอัลกุรอาน”ว่า แต่ละสำนักคิด ศาสนาไม่ว่าจะเป็นเทวะนิยมหรือเป็นแนวทางที่ถูกสร้างขึ้นมาต้องมีคู่สนทนาของตนเองทั้งสิ้น ซึ่งคู่สนทนาของแต่ละกลุ่มนั้นย่อมแตกต่างกัน (more…)

Read More...

โฉมหน้าผู้ศรัทธาในมุมมองของกุรอาน

หลายสัปดาห์เข้าไปอ่านเว็บไซต์ ภาษาฟาร์ซีเว็บนึงเป็นเว็บดีมากมีบทความหลากหลายมากมายเลยทีเดียว ก็เลยหยิบมาแปล เป็นบทความสั้น ๆ ที่บอกถึงคุณลักษณะของผู้ศรัทธาที่แท้จริง (more…)

Read More...

เครื่องมือที่ใช้ในการเขียนบันทึก

          อุปกรณ์การเขียนหนังสือในสมัยการประทานอัลกุรอานนั้นเป็นอุปกรณ์ง่าย ๆ  มุสลิมใช้ประโยชน์จากทุกสิ่งที่สามารถนำมาเขียนบนสิ่งนั้นได้ ในการรวบรวมฮะดีษและการบันทึกอัลกุรอานก็ได้กล่าวถึงอุปกรณ์เหล่านี้ไว้ซึ่งผู้เชี่ยวชาญด้านอัลกุรอานมีความเห็นเป็นเอกฉันท์ในเรื่องนี้ (more…)

Read More...

อิซติฆฟารขุมทรัพย์แห่งอัลกุรอาน

จากทัศนะของอัลกุรอาน ความสัมพันธ์ระหว่างกิจการงานของมนุษย์กับเหตุการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในชีวิตประจำวันของพวกเขานั้น ถือเป็นความสัมพันธ์ที่เกี่ยวโยงมาจากกำหนดสภาวะการณ์แห่งองค์ผู้อภิบาล (more…)

Read More...

“วะฮ์ยู” ตอนที่ 1

“วะฮ์ยู”1 ตามความเชื่อของนักวิชาการและนักค้นคว้าด้านอัล กุรอานเชื่อว่า อัลกุรอานมีความสัมพันธ์โดยตรงกับคำว่า วะฮ์ยู  และทุกคนยังมีความเชื่ออีกว่าการพิจารณาและทำความเข้าใจเกี่ยวกับเรื่องวะฮ์ยู เป็นจุดเริ่มต้นของการค้นคว้าเกี่ยวกับอัล กุรอาน ดังนั้นในฉบับนี้จะขอทำความเข้าใจกับท่านผู้อ่านในเรื่องวะฮ์ยู เพื่อเป็นก้าวแรกไปสู่การทำความเข้าใจอัล กุรอาน (more…)

Read More...

อิมามโคมัยนีกับปรัชญาแห่งฮัจญ์

واعتصموابحبل اللةجميعاولاتفرقوا “จงยึดสายเชือกของอัลลอฮ์อย่างพร้อมเพรียงกัน และจงอย่าแตกแยกกัน” (ซูเราะฮ์ อาลิอิมรอน โองการที่ 103) (more…)

Read More...

วัฒนธรรมกุรอาน วัฒนธรรมแห่งยุคสมัย

هُوَ الَّذِي أَرْسَلَ رَسُولَهُ بِالْهُدَى وَدِينِ الْحَقِّ لِيُظْهِرَهُ عَلَى الدِّينِ كُلِّهِ وَلَوْ كَرِهَ الْمُشْرِكُونَ “พระองค์คือผู้ทรงส่งรอซูลของพระองค์ด้วยการชี้นำทาง และศาสนาแห่งสัจธรรมเพื่อพระองค์จะทรงให้ศาสนาอิสลามอยู่เหนือศาสนาทั้งมวล ถึงแม้พวกตั้งภาคีจะเกลียดชังก็ตาม” (ซูเราะฮ์อัศศ๊อฟ โองการที่ 9)

Read More...

ความละอายในมุมมองของอัลกุรอาน

ความละอายคือความรู้สึกผิดหรือความละอายใจที่เกิดจากการสำนึกผิดจากการมีพฤติกรรมที่ไร้เกียรติและน่ารังเกียจ (more…)

Read More...

ผลของความพยายามของมนุษย์ 

ผลของความพยายามของมนุษย์  อัลกุรอานกล่าวไว้ในโองการที่ 39 ซูเราะฮ์นัจม์ ว่า -  وَأَنْ لَيْسَ لِلإنْسَانِ إِلا مَا سَعَى และมนุษย์จะไม่ได้รับอะไรเลยนอกจากสิ่งที่เขาขวนขวายเอาไว้ (more…)

Read More...

Mobile Sliding Menu