Category: อัลกุรอาน

อธิบายซูเราะฮ์อัล-มาอิดะฮ์ โองการที่ 1

บทนำ ซูเราะฮ์อัล-มาอิดะฮ์ เป็นซูเราะฮ์ที่ประทานลงมา ณ เมืองมะดีนะฮ์ซึ่งประกอบด้วย 120 โองการ 2,804 คำ และ11,933 อักษร นักวิชาการสายอุลูมกุรอานกล่าวกันว่า ซูเราะฮ์นี้ถูกประทานลงมาหลังจากซูเราะฮ์ฟัฏฮ์ แต่ในบางรายงานได้บันทึกไว้ว่า ซูเราะฮ์มาอิดะฮ์ประทานในช่วงเทศกาลฮัจญ์ตุ้ลวิดาอ์ (ฮัจญ์อำลาของท่านนบี ซ.ล.) ระหว่างการเดินทางจากมักกะฮ์สู่มาดีนะฮ์ ทว่าตามลำดับเรียบเรียงของอัลกุรอานซูเราะฮ์นี้ ปรากฎอยู่ในลำดับที่

Read More...

อักษรมุก็อฏฏออาต

เป็นที่ทราบกันดีสำหรับมุสลิมว่าในอัลกุรอานมี 29 ซูเราะฮ์ที่ขึ้นต้นด้วยตัวพยัญชนะอาหรับที่เขียนแยกออกจากกัน โดยไม่เป็นประโยค  ยกตัวอย่างเช่น   الم  (อาลิฟ ลาม มีม)     يس   (ยาซีน) หรือ  حم    (ฮามีม) 

Read More...

ซูเราะฮ์มักกียะฮ์ และ มะดะนียะฮ์

ตามสายรายงานเกี่ยวกับลำดับการประทานอัล กุรอาน บ่งชี้ว่า ซูเราะฮ์มักกียะฮ์มีจำนวน 86 ซูเราะฮ์ และซูเราะฮ์มะดะนียะฮ์ มีจำนวน 28 ซูเราะฮ์ ซึ่งบรรทัดฐานในการกำหนดว่าซูเราะฮ์ใดเป็นซูเราะฮ์มักกียะฮ์และซูเราะฮ์ใดเป็นซูเราะฮ์มะดะนียะฮ์มี 3 ทัศนะใหญ่ ๆ ดังต่อไปนี้ : 1 :  แบ่งตามช่วงเวลาของการประทานอัล กุรอาน

Read More...

แนะนำกุรรออ์ ซับอะฮ์ (3) – อะบูอัมร์

อะบูอัมร์  ท่านชื่อ ซับบาน บิน อะลา บิน อามิร บินอุรยาน ท่านเป็นคนเดียวใน 7 ท่านที่เป็นชาวอาหรับดั้งเดิม ท่านอบูอัมร์เรียนกุรอานกับอาจารย์หลายท่านด้วยกัน ซึ่งอาจารย์ของท่านมีทั้งใน บัศเราะฮ์  กูฟะฮ์  มักกะฮ์และมะดีนะฮ์ ซึ่งนักวิชาการบางท่านเชื่อว่าการมีอาจารย์มากนี้เองถือเป็นจุดเด่นของท่านอะบูอัมร์ โดยอิบนิเญาซีย์กล่าวเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า ไม่มีนักกอรีคนใดใน 7

Read More...

แนะนำกุรรออ์ ซับอะฮ์ (3) – อาซิม

อาซิม  ท่านชื่อ อบูบักร อาซิม บิน อะบิลนุญูด อัล อะซะดีย์ ท่านเป็นนักอ่านที่มีชื่อเสียงที่สุดในหมู่นักอ่านทั้ง 7 ท่านเป็นชาวกูฟะฮ์ เป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญด้านภาษาอาหรับด้วย ท่านอาซิมเรียนกุรอานในรูปแบบอัรฎ์ (อ่านให้อาจารย์ฟังโดยอาจารย์จะคอยตรวจสอบความถูกต้อง) กับ ท่านท่านอะบูอับดุลเราะห์มานซุลละมีย์  ท่านท่านอะบูอับดุลเราะห์มานซุลละมีย์ มีบทบาทสำคัญในการถ่ายทอดศาสตร์การอ่านกุรอานให้กับนักอ่านชาวกูฟะฮ์เป็นอย่างมากซึ่งท่านเป็นลูกศิษย์โดยตรงของท่านอิมาม อะลี บิน อะบีฏอลิบ

Read More...

แนะนำกุรรออ์ ซับอะฮ์ (2) – อิบนิ กะซีร

อิบนิ กะซีร ท่านมีชื่อว่า อับดุลลอฮ์ อิบนิ กะซีร ดารี มักกีย์ เป็นนักกอรีจากเมืองมักกะฮ์ คำว่าดารีเป็นฉายาของท่านหมายถึงพ่อค้าน้ำหอม ซึ่งมาจากการที่ช่วงเวลาหนึ่งท่านมีอาชีพเป็นพ่อค้าน้ำหอมอยู่ในตลาดเมืองมักกะฮ์ ท่านเป็นชาวมักกะฮ์โดยกำเนิดและเสียชีวิตที่เมืองนี้ด้วย  ท่านอิบนิกะซีร เรียนกุรอานในรูปแบบ อัรฎ์ (อ่านให้อาจารย์ฟังโดยอาจารย์จะคอยตรวจสอบความถูกต้อง) จากท่านอับดุลลอฮ์ บิน ซาอิบ (เป็นซอฮาบะฮ์สมัยนบี) จากท่านมุญาฮิด

Read More...

แนะนำกุรรออ์ ซับอะฮ์ (1) – อิบนิอะมีร

ท่านมีชื่อว่า อับดุลลอฮ์ บิน อามิร บิน ยะซีด ยะฮ์ซุบีย์ มีฉายานามว่า อะบูอิมรอน เป็นชาวซีเรีย มีเชื้อสายตระกูลเป็นชาวเยเมน ท่านเรียนการอ่านมาจากท่าน มุฆีเราะฮ์ บิน อะบี ชะฮาบ มัคซูมีย์ ซึ่งท่านมุฆีเราะฮ์สืบทอดการอ่านมาจากท่านอุศมาน บิน

Read More...

รูปแบบการอ่านกุรอาน (อิลมุลกิรออะฮ์)

อิลมุล กิรออะฮ์ เป็นศาสตร์ที่กล่าวถึงเรื่อง กฏเกณฑ์ในการอ่านออกเสียง  การหยุด  การเริ่มต้น การอ่านควบตัวอักษร รวมทั้งกล่าวถึงการอ่านคำในกุรอานในรูปแบบต่าง ๆ  ด้วย ท่านศาสดา (ศ็อล ฯ) ถือเป็นครูสอนกุรอานคนแรกของโลกอิสลามบรรดาซอฮาบะฮ์บางท่านเช่น ท่านอิมามอะลี (อ.) ท่านอุศมาน บิน อัฟฟาน ท่านอับดุลลอฮ์

Read More...

ผู้จดบันทึกอัล กุรอาน

ตามที่บรรดามุสลิมเราทราบกันดีอยู่แล้วก็คือท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อล ฯ) เป็นผู้ที่ไม่รู้หนังสือ คืออ่านไม่ออกเขียนไม่ได้ ไม่มีบันทึกในประวัติศาสตร์เลยว่าท่านเขียนหรือท่านอ่านสิ่งใด  ด้วยเหตุนี้เองในหมู่ชาวอาหรับ ท่านจึงได้รับฉายาว่า อุมมี (ผู้ไม่รู้หนังสือ) อัล กุรอานเองก็กล่าวถึงท่านศาสดามุฮัมมัด (ศ็อล ฯ) ในลักษณะนี้เช่นเดียวกันโดยกล่าวไว้ในซูเราะฮ์อะอ์รอฟในโองการที่ 157 – 158 ว่า  فَآمِنُوا

Read More...

วิเคราะห์เรื่องเล่าในกุรอาน (ตอนที่ 3)

เวลาในเรื่องเล่ากุรอานมีบทบาทอย่างไรบ้าง ? ในเรื่องเล่ากุรอานสถานที่ถูกฉายไว้อย่างไรบ้าง ? องค์ประกอบของเรื่องเล่าในกุรอาน (ตอนที่ 2) เวลา เวลาถือว่ามีบทบาทสำคัญสำหรับการเล่าเรื่องเช่นกัน   เวลาเป็นองค์ประกอบที่เหมือนกับพาหนะที่เนื้อเรื่องใช้ขับขี่เพื่อขับเคลื่อนเหตุการณ์ให้ดำเนินไปสู่อนาคตข้างหน้า ช่วงเวลาในฉากต่าง ๆ ของเรื่องเล่าจะวาดภาพในหัวของผู้ฟังให้ติดตามเรื่องราวอย่างต่อเนื่อง ธรรมชาติของเวลาคือการขับเคลื่อนและการเคลื่อนไหวไปสู่อนาคตข้างหน้า  ดังนั้นหากพิจารณาในเรื่องเล่าที่เล่าบนพื้นฐานของความเป็นจริง ช่วงเวลาต่าง ๆ ของเรื่องจะถูกวางไว้อย่างเป็นระเบียบสมบูรณ์ แต่ในส่วนของเรื่องเล่าที่ไม่ได้เล่าจากเรื่องจริง บางทีจะเห็นว่าเวลาไม่ได้เคลื่อนไหวไปตามธรรมชาติของมัน เรื่องเล่าในกุรอานที่ผู้เล่าเป็นผู้มีวาจาสัจและเล่าบนพื้นฐานความจริง องค์ประกอบเรื่องเวลาจะถูกนำเสนอไปอย่างมีความหมายและเรียงร้อยอย่างเป็นระบบระเบียบตามธรรมชาติของมันอย่างชัดเจน เพื่อให้เห็นเป็นตัวอย่างจะกล่าวถึงเรื่องราวการถูกเลือกของอาลิอิมรอนให้เป็นศาสนทูตจนกระทั่งท่านนบีอีซาซึ่งเป็นหนึ่งใน

Read More...

Mobile Sliding Menu