Category: อะฮ์ลุลบัยต์

การเก็บรักษาและการเขียนบันทึกฮะดิษ

การเก็บรักษาและการเขียนบันทึกฮะดิษ น่าจะไม่มีข้อสงสัยและข้อครางแครงใจเลยว่าท่านศาสดาและบรรดาอิมามเน้นให้มุสลิมท่องจำและจดบันทึกฮะดิษ  คำพูดและรายงานมากมายที่บรรดาอิมามเรียกร้องให้เรียนรู้ สนทนาและท่องจำฮะดิษเป็นหลักฐานยืนยันเรื่องนี้อย่างชัดเจน ท่านศาสดา (ศ็อล ฯ) กล่าวว่า  من حفظ من امتی اربعین حدیثا بعثه الله یوم القیامه عالما فقیها و یعذبه ฮะดิษบทนี้มีรายงานไว้ทั้งสายซุนนีย์และชีอะฮ์ โดยมีตัวบทที่หลากหลาย ท่านอัลลามะฮ์มัจลิซีย์

Read More...

คำสอนอิมามอาลี (อ) : ผู้ปกครองรัฐต้องหลีกเลี่ยงการใช้อำนาจรัฐแบบเผด็จการ

-ผู้ปกครองรัฐต้องหลีกเลี่ยงการใช้อำนาจรัฐแบบเผด็จการ- เป็นไปได้ถ้าพิจารณาการปกครองในโลกปัจจุบัน ไม่ว่าในประเทศที่เป็นมุสลิมหรือไม่ใช่มุสลิม บางประเทศได้นิยมในการปกครองแบบเผด็จการ หรือแบบอำนาจนิยม โดยประชาชนไม่มีสิทธ์ไม่มีเสียงใดๆ ต้องฟังผู้ปกครองเพียงผู้เดียว  แต่ทว่าการปกครองระบอบอิสลาม เป็นการปกครองขัดแย้งกับการปกครองแบบอำนาจนิยมดังกล่าวอย่างสิ้นเชิง นั่นหมายความว่า ผู้ปกครองรัฐอิสลาม เป็นผู้ที่มีความเมตตาธรรม และไม่มีระบอบความเป็นเผด็จการ ดังที่องค์อัลลอฮทรงตรัสว่า.. (อาลิอิมรอน/๑๕๙)    ในทัศนะของอิมามอะลีเกี่ยวกับผู้นำรัฐอิสลาม นั่นก็คือต้องไม่เป็นแบบเผด็จการหรือระบบอำนาจนิยม    สาส์นฉบับหนึ่งอิมามอะลีได้เขียนถึงท่าน อัชอัส บินเกส ซึ่งเขาได้ถูกแต่งตั้งให้ปกครองรัฐอาเซอไบจันว่า... (จดหมายที่ ๕) “การปกครองเมืองนั้นไม่ใช่อาหารและอาภรณ์ของเจ้า แต่นั่นคือภารกิจและหน้าเหนือเจ้า

Read More...

อิมามซัจญาด (อ)

ท่านอิมามอาลี บินฮุเซน อิหม่ามคนที่สี่ของชาวชีอะฮ์ มีฉายานามว่า ซัจญาด และซัยนุลอาบิดีน เกิดในวันที่ห้าของเดือนเชาวาลในปีฮิจเราะห์ศักราชที่ 37 ในเมืองมะดีนะฮ์ ตามแหล่งที่มาของประวัติศาสตร์อิสลาม บันทึกไว้ว่า บิดาผู้เป็นที่รักของท่านคือ อิหม่ามฮุเซน ขอความสันติจงมีแด่ท่าน และมารดาผู้สูงศักดิ์ของท่านคือท่านหญิง สะลามะฮ์ หรือเป็นที่รู้จักกันในนามวา Ghazaleh อิหม่ามสัจจาด (ขอความสันติจงมีแด่ท่าน) มีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาที่เลวร้ายที่สุดระหว่างการเป็นผู้นำของ

Read More...

คมดาบและหัวใจ

คมดาบและหัวใจ “หัวใจของพวกเขาอยู่กับท่านก็จริง แต่คมดาบของพวกเขากำลังมุ่งประหารท่าน” ประโยคหนึ่งที่เป็นประโยคที่แสนจะขมขื่นที่สุดในหน้าประวัติศาสตร์คือประโยคที่ว่า “หัวใจของพวกเขาอยู่กับท่านก็จริง แต่คมดาบของพวกเขากำลังมุ่งประหารท่าน”   เรื่องราวเกี่ยวกับประโยคข้างต้นนี้ได้ถูกบันทึกไว้ในหนังสือ “เมาซูอะฮ์ กะลีมาต อิมามฮุเซน (อ) ” โดยกล่าวไว้ว่า – เมื่อครั้งที่ท่านอิมามฮุเซน (อ) ได้เดินทางออกจากเมืองมะดีนะฮ์ท่านได้พบกับนักกวีหนุ่มคนหนึ่งชื่อ ฟะรอซดัก ท่านอิมามถามถึงสถานการณ์ในเมืองกูฟะฮ์ ฟะรอซดัก กล่าวตอบว่า –

Read More...

วิถี “ฮุเซน” (อ)

วิถีฮุเซน (อ.)  ผู้นำมวลมนุษยชาติท่านที่ 3 ตามแนวทางของชีอะฮ์อิมามียะฮ์ คือ อิมามฮุเซน (อ.)  ท่านประสูติในวันที่ 3 เดือนชะอ์บาน ปี ฮ.ศ. ที่ 4 ในเมืองมะดีนะฮ์ ท่านเป็นบุตรคนที่สองของอิมามอะลี (อ.) กับท่านหญิงฟาติมะฮ์ (อ.)

Read More...

เดือนมุฮัรร็อม

เดือนมุฮัรรอม เดือนมุฮัรรอมเป็นเดือนแห่งความโศกเศร้าของอะฮ์ลุลบัยต์และผู้ที่ปฏิบัติตามอะฮ์ลุลบัยต์ อิมามริฎอ (อ.) กล่าวว่า :  “เมื่อเดือนมุฮัรรอมมาเยือน ไม่มีใครเห็นบิดาของฉันยิ้มเลย ท่านจะโศกเศร้าจนกระทั่งถึงวันที่ 10 ของเดือนมุฮัรรอม และวันที่ 10 นี้เองเป็นวันแห่งความโศกเศร้าและร้องให้ของท่าน และท่านกล่าวว่า วันนี้แหละคือวันที่พวกเขาได้ฆ่าฮุเซน (อ.)” มุฮัรรอม ในมุมมองของชีอะฮ์

Read More...

ชีวประวัติท่านอิมามอาลี ตอนที่ 1 ศึกนอกและศึกใน

เมื่อพิจารณาถึงอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับสังคมอิสลามโดยรวม ถ้าหากท่านอิมามอาลี (อ) ทำการต่อสู้เพื่อแย่งชิงตำแหน่งผู้นำ ด้วยเหตุนี้ท่านจึงตัดสินใจไม่ลุกขึ้นต่อสู้ ซึ่งหากพิจารณาถึงอันตรายทั้งภายในและภายนอกที่เป็นเหตุให้อะลี (อ.) ไม่คิดที่จะต่อสู้ด้วยอาวุธยุทโธปกรณ์ ได้ดังต่อไปนี้ 1 ถ้าหากอิมาม(อ.) ได้ใช้อำนาจและต่อสู้โดยใช้อาวุธยุทโธปกรณ์เพื่อยึดการปกครองคืนมาท่านก็จะสูญเสียบรรดาบุคคลที่เป็นที่รักที่เชื่อในความเป็นผู้นำของท่านอย่าจริงใจ นอกเหนือจากนี้แล้วหลายกลุ่มด้วยกันที่เป็นสาวกของท่านศาสดา (ศ็อลฯ) ซึ่งไม่พอใจกับการปกครองของท่านอิมาม(อ.) ก็จะถูกสังหาร ซึ่งกลุ่มนี้นั้นถึงแม้พวกเขาจะมีจุดยืนที่ตรงข้ามกับท่านอิมาม(อ.)ในประเด็นเกี่ยวกับผู้นำและมีความแค้นเคืองต่อท่านและพวกเขาไม่พอใจที่จะให้อิมามอะลี (อ.) ทำการปกครองแต่พวกเขาก็ไม่มีความขัดแย้งกับท่านในเรื่องอื่น อย่างไรก็แล้วแต่การถูกสังหารของบุคคลกลุ่มนี้นั้นจะทำให้อำนาจในการเผชิญหน้ากับผู้ตั้งภาคี ผู้กราบไหว้เจว็ด

Read More...

อิมามฮะซัน กับสมญานามผู้ใจบุญแห่งวงศ์วานศาสนทูต

เนื่องจากท่านอิมามฮะซัน (อ.) มีความเห็นอกเห็นใจต่อผู้ตกทุกข์ได้ยากและผู้ยากไร้ในสังคม ท่านอยู่ร่วมกับคนจนและผู้ด้อยโอกาสในสังคมเสมอ พร้อมกันนั้นท่านยังรับฟังความโศกเศร้าของพวกเขาด้วยความจริงใจ ไม่มีคนยากจนคนใดกลับมาจากประตูบ้านของท่านด้วยความผิดหวัง บางครั้งตัวท่านเองเดินไปหาคนยากจนและเชิญพวกเขาไปที่บ้านของท่านและให้อาหารและเสื้อผ้าแก่พวกเขา (1) ท่านอิมามฮะซัน (อ.) ใช้พลังทั้งหมดที่มีในการทำสิ่งที่ดีและเป็นที่พอพระทัยของพระเจ้า ท่านแอบมอบทรัพย์สมบัติมากมายในทางของพระเจ้า นักประวัติศาสตร์และนักวิชาการได้บันทึกเรื่องราวการบริจาคครั้งยิ่งใหญ่อย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนในประวัติชีวิตอันน่าภาคภูมิใจท่าน ในช่วงชีวิตของท่านได้ใช้จ่ายทรัพย์สมบัติทั้งหมดของตัวเองสองครั้งในทางของพระเจ้า และครั้งที่สามท่านได้แบ่งทรัพย์สมบัติของท่านออกเป็นสองส่วนและแบ่งครึ่งหนึ่งให้กับคนจนในทางของพระเจ้า (2) มีรายงานว่า ท่านอิมามฮะซัน (อ.) เดินผ่านกลุ่มคนจนกำลังกินเศษขนมปังแห้งที่ถูกทิ้งไว้บนพื้น ท่านลงจากหลังม้าและกล่าวว่า

Read More...

คำสอนอะฮ์ลุลบัยต์ ตอนที่ 5 หายนะที่ทำให้มนุษย์แบกรับไม่ไหว

ثَلاثُ قاصِماتُ الظَّهْرِ: رَجُلٌ إسْتَکْثَرَ عَمَلَهُ وَنَسِیَ ذنُوبَهُ وأَعَجَبَ بِرَأیِهِ ท่านอิมามบาเก็รกล่าวว่า : มีสามคนที่บ่าของเขาจะแบกรับภาระ (ความหายนะที่จะเกิด) ไม่ไหว : คนที่คิดว่าสิ่งที่เขาทำเอาไว้ยิ่งใหญ่และมากมายเสียเหลือเกิน  คนที่ลืมบาปที่ตัวเองเคยทำไว้ และคนที่คิดว่าทัศนะของตัวเองเหนือกว่าผู้อื่น   คำอธิบาย คนที่คิดว่าผลงานที่ตัวเองทำยิ่งใหญ่และมากมายแล้ว แน่นอนก็จะยืนดูและชื่นชมผลงานตัวเอง

Read More...

คำสอนอะฮ์ลุลบัยต์ ตอนที่ 4 สัญลักษณ์ชาวสวรรค์

สัญลักษณ์ชาวสวรรค์ إِنَّ لاِ هْلِ الْجَنَّهِ أرْبَعَ عَلامات: وَجْهٌ مُنْبَسِطٌ وَلِسانٌ فَصِیْحٌ وَقَلْبٌ رَحِیْمٌ وَیَدٌ مُعْطِیَهٌ ท่านอิมามซอดิกกล่าวว่า  ชาวสวรรค์มีสัญลักษณ์ 4 ช้อด้วยกัน  ใบหน้ายิ้มแย้ม พูดจาไพเราะฉะฉาน

Read More...

Mobile Sliding Menu